ข่าว:

🎉🎉🎉 XONLY เปิดรับลงทะเบียนสมาชิกใหม่อีกครั้ง จำกัดวันละ 50 คน จนกว่าแอดมินจะขี้เกียจรับ😀

Main Menu

ตาเสธ first ตอนที่ 19 (ตอน สิ่งที่เปลี่ยนไป..) by areja

เริ่มโดย areja, มีนาคม 13, 2012, 11:23:40 หลังเที่ยง

หัวข้อก่อนหน้า - หัวข้อถัดไป

0 สมาชิก และ 1 ผู้มาเยือน กำลังดูหัวข้อนี้

areja

.............................ตาเสธ first ตอนที่ 19 (ตอน สิ่งที่เปลี่ยนไป..) by areja..
...............
มาตาม ตาเสธ ไปทัวร์เรื่องราวในอดีตกันต่อ ช่วงนี้ งานเยอะ มาต่อให้ช้า ก็ขอ อภัย ไว้ล่วงหน้านะคะ สำหรับคนที่ตาม หรือ รออยู่ มามะ มาทัศนากันต่อ
..
....................................................
แว่น มาเสิร์ฟอาหาร..
.................................จานนี้อะไรเอย มองไม่พบ.?..( งาว่ราหาอ )
............................จานนี้ตำโขก กลับ ตรงข้าม สวรรค์.? ( น้ำพกนาริก )
.........................แยกไม่ออก โป๊ะแตก หรือ ต้มยำ.?..( ใส่ทั้งหมู และ เนื้อวัว )
.................................เรื่อง ขำขำ ต้มรวมหลายพัก ตักได้กิน.?..( โก๊ะแฮง)


.................2494 ห้วงเวลาไหลไปปกติ แต่ วัยวาน เริ่มเพิ่มขึ้น-อายุไขลดลงไปทุกวัน ในบ้านสวนเมืองนนท์ อันร่มสงบหลายสิ่งแปรเปลี่ยนไปตามเวลา ลุล่วง 4  ปีที่พ้นผ่านไม่นาน แต่ อะไร ๆ เปลี่ยนไปมากมาย 2 ศรีพี่น้องเรียนจบ และ น้ำฝน กลับไปแต่งงานยัง เวียงเหนือกับคนที่ น้าเอื้องฟ้า จัดหาให้ โดย เหมือนคลุมถุงชน อีก 2 วันจะถึงวันแต่งน้ำฝนจึงต้องขึ้นไปเตรียมตัว และ ช่วยงานต่าง ๆก่อน 1 เดือน น้ำค้าง นั้นเข้ารับราชการกระทรวงต่างประเทศ สำหรับ เสธ กับ น้ำค้าง ก็เสพสุขกับเรือนร่างของกัน และ กันอยู่บ่อย ๆ ลุงทอง เสียไปเมื่อปีที่แล้ว คุณป้าพลอย เลยเหงาเดียวดายอยู่คนเดียว และ ทำแต่งานเพื่อลืมความคิดถึงไปวัน ๆ พี่หญิงใหญ่ ไม่กล้ากลับมาอยู่บ้านสวนคงกลัวเรื่องราวในอดีต และ เธอ ก็แต่งงานมีครอบครัวอยู่เมืองนอก แล้วคงไม่คิดกลับมาอยู่เมืองไทย เจอกันกับ เสธ วันเผา ลุงทอง พุดคุยกันไม่กี่คำ เสร็จงานศพ เธอ ก็กลับไปต่างประเทศ ส่วน พี่หญิงเล็ก เธอ เก่ง และ คล่องแคล้วมาก เธอ กลับไม่สะสางเรื่องงานที่ต่างประเทศแล้วก็กำลังจะกลับมาช่วย ดูแลงานบริษัทแทนในตำแหน่งประธาน ส่วน คุณป้า ที่ก็จะถอยออกมาเป็นแค่กรรมการบริษัท ท่านคงคิดแค่ทำงานเพื่อ ลืมเวลาไปวัน พี่สวย ยังทำงานอยู่ที่นี้เป็นแม่บ้านดูแลทุกอย่าง สามี แกก็คอยควบคุมดูแล สวนผลไม้ ซึ่ง คุณป้า แบ่งขายไป จนเหลือไม่มาก แต่ ก็พอ เก็บขายได้กำไรโข และ ยังเหลือ แจกจ่าย หรือ เอาไปฝากเพื่อน ๆ ของ คุณป้าพลอย เหลือทานก็อีกมาก ลูกสาวติดสามี พี่สวย ชื่อ ชวนชม ก็โตขึ้นมาก สวยผิดตาผิวเนื้อกายออกคล้ำนิดนิด แต่รูปหน้าดวงตาคมคายไม่ใช่น้อย และ ชอบมอง เสธ แปลกๆ อยู่หลายครั้ง คุณป้าพลอย ส่งเสีย ชวนชม เรียน มหาวิทยาลัย เพราะ เห็นว่ารักการเรียนเพื่อ หวังว่าจะเอาไปช่วยงานที่บริษัท และ ชวนชม ก็รักที่จะเรียนด้วย เธอ ไม่อยากทำสวน ทำไร่ดั่ง พ่อ ของ เธอ เสธ ย้ายกลับมาตามวาระเข้ามาทำงานที่ ท . บ 1 ในพระนคร ตอนนั้นบ้านเมือง กำลังย่ำแย่ ด้วยวิกฤต ข้าวของแพง และ ทางการเมืองก็กำลังร้อนระอุ ทหารก็แบ่งฟักฝ่ายชิงกันควบคุมรัฐบาล แบบสงครามเย็น และมีข่าวทาหารเรือ จะ ปฎิวัติรัฐประหาร เร็ววันนี้..  ( มาพักดูประวัติศาสตร์กันนิดนะคะ)   
                                                           ..
กบฏแมนฮัตตัน
............................
เกิดเหตุการณ์ กบฎแมนฮัตตัน

29 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เกิดเหตุการณ์ "กบฎแมนฮัตตัน" นำโดย นาวาโทมนัส จารุภา ผู้บังคับการเรือหลวงสุโขทัย ได้บุกจี้ตัว จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี ขณะกำลังทำพิธีรับมอบ "เรือขุดแมนฮัตตัน" ซึ่งสหรัฐอเมริกามอบให้แก่ประเทศไทย ที่ท่าราชวรดิฐ ( จึงเป็นที่มาของ " กบฏแมนฮัตตัน " ) จากนั้นได้เชิญตัวจอมพล ป. ไปขังไว้ที่เรือหลวงศรีอยุธยา ซึ่งจอดอยู่ที่หน้ากองบัญชาการกองทัพเรือที่จอดรออยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา หัวหน้าผู้ก่อการคือ นาวาเอกอานน บุญฑริกธาดา ได้สั่งให้หน่วยทหารเรือมุ่งเข้าสู่พระนคร เพื่อ ยึดอำนาจ และ ประกาศตั้ง พระยาสารสาสน์ประพันธ์ เป็น นายกรัฐมนตรี แต่ เกิดการสู้รบกันหลายแห่งในพระนคร ระหว่างฝ่ายทหารเรือกับฝ่ายรัฐบาลคือทหารอากาศ ทหารบก และ ตำรวจ จอมพล ป. พิบูลสงคราม จึงสามารถหลบหนีออกมาได้ ในที่สุดฝ่ายรัฐบาลได้ปรามปรามฝ่ายกบฏจนสำเร็จ

............................
หัวหน้าคณะก่อการ คือ น.อ. อานนท์ บุญฑริกธาดา รน. สั่งการให้ทหารเรือกลุ่มที่สนับสนุนการก่อการมุ่งหน้าและ ตรึงกำลังไว้ที่พระนคร และ ประกาศตั้ง พระยาสารสาสน์ประพันธ์ ขึ้นเป็นนายกรัฐมนตรี โดย จอมพล ป. พิบูลสงคราม กระจายเสียงในฐานะนายกรัฐมนตรีจากในเรือ แต่ทางฝ่ายรัฐบาลไม่ยอม ได้กระจายเสียงตอบโต้ไปโดยใช้วิทยุของ กรมการรักษาดินแดน (ร.ด.) โดยได้ให้นายวรการบัญชา ประธานสภาผู้แทนราษฎรรักษาการณ์นายกรัฐมนตรีแทน และ ตั้งกองบัญชาการขึ้นที่ทำเนียบรัฐบาล ( ในขณะนั้นคือ พระที่นั่งอนันตสมาคม )  จึงเกิดการต่อสู้ยิงกันอย่างหนักระหว่างทหารฝ่ายรัฐบาล และ ทหารฝ่ายก่อการ มีการทิ้งระเบิดจากเครื่องบินแบบ Spirt fire และ T6 ใส่เรือหลวงศรีอยุธยาที่อยู่กลางแม่น้ำเจ้าพระยา จนกระทั่งเวลาประมาณ 15.00 น. ของวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2494 เรือก็จม จอมพล ป. พิบูลสงคราม ถูกทหารเรือที่อยู่บนเรือนำว่ายน้ำหลบหนีออกมาได้ โดย การกบฏครั้งนี้นับว่าเสียหายมากที่สุดในประวัติศาสตร์ไทย เพราะ สถานที่ต่าง ๆ เสียหาย และ มีผู้บาดเจ็บล้มตายนับร้อยทั้งทหารของทั้ง 2 ฝ่าย และ ประชาชนที่ไม่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์ ภายหลังเหตุการณ์ผู้ก่อการได้แยกย้ายกันหลบหนีไปพม่า และ สิงคโปร์
น.ต.มนัส จารุภา รน. ผู้ทำการจี้จอมพล ป. ได้หลบหนีไปพม่าได้สำเร็จ แต่ถูกจับกุมได้หลังจากลักลอบกลับเข้าประเทศเมื่อปี พ.ศ.
2495

เหตุการณ์สิ้นสุดลงด้วยการจับกุมผู้ต้องหาร่วม 1,000 คน ปล่อยตัวเพราะหาหลักฐานไม่เพียงพอจนเหลือฟ้องศาลประมาณ 100 คน ภายหลังนักโทษคดีนี้ส่วนใหญ่ได้รับการนิรโทษกรรมเมื่อปี พ.ศ. 2500 เนื่องในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ ในส่วนของกองทัพเรือ แม้ทหารที่ก่อการจะไม่ใช่ทหารระดับสูง และ ทหารเรือส่วนใหญ่ก็ไม่เกี่ยวข้องด้วย กระนั้น ต่อมา พล.ร.อ.สินธุ์ กมลนาวิน ผู้บัญชาการทหารเรือก็ยังต้องโทษตัดสินจำคุกนานถึง 3 ปี โดย ที่ไม่มีความผิด และได้มีการปรับลดอัตรากำลังพลของกองทัพเรือลงไปมาก โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพมหานคร เช่น ยุบกรมนาวิกโยธินกรุงเทพ ยุบกองการบินกองทัพเรือไปรวมกับกองทัพอากาศ ย้ายกองสัญญาณทหารเรือที่ถนนวิทยุ ที่ต่อมากลายเป็นที่ตั้งของโรงเรียนเตรียมทหาร ซึ่งในปัจจุบันคือที่ตั้งของ สวนลุมไนท์บาซ่าร์ นั่นเอง

............................
สาเหตุ
การก่อกบฏแมนฮัตตัน สืบเนื่องมาจากสาเหตุ 3 ประการ คือ

ประการที่ 1 ความไม่พอใจในการบริหารประเทศของรัฐบาล จอมพล ป. พิบูลสงคราม สมัยที่ 2 ซึ่งคณะรัฐประหาร พ.ศ.2490 สนับสนุน โดยทหารเรือเห็นว่า รัฐบาลของคณะรัฐประหารมิได้บริหารราชการแผ่นดินเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน อย่างแท้จริง ใช้วิธีเผด็จการ โดย ปรับปรุงกรมตำรวจให้มีลักษณะเป็น " กองทัพ " เพื่อข่มขู่ประชาชน และ กวาดล้างฝ่ายตรงข้ามอย่างทารุณ และ ไร้มนุษยธรรม

ประการที่ 2 ความตึงเครียดระหว่างทหารบก และ ตำรวจกับทหารเรือ ซึ่งมีมาตั้งแต่สงครามโลกครั้งที่ 2 โดย ที่ทั้ง 2 ฝ่ายต่างสันบสนุนผู้นำต่างกัน ทหารบกสนับสนุนจอมพล ป. พิบูลสงคราม ทหารเรือสนับสนุนนายปรีดี พนมพงค์ ส่วนตำรวจนั้นมีปัยหาการกระทบกระทั่งกับทหารเรืออยู่เสมอ และ ได้กล่าวหาทหารเรือในเรื่องที่มักให้ผู้กระทำความผิดประเภทใช้อาวุธปล้นจี้ หลบซ่อนในเขตทหารเรืออีกด้วย

ประการที่ 3 ความเสื่อมโทรมในกองทัพเรือ เพราะ รัฐบาลไม่ไว้วางใจ และ ไม่ให้การสนับสนุนอย่างเต็มที่นับตั้งแต่ครั้งกบฏวังหลวง เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ์ พ.ศ.2492 มีการตัดกำลังนาวิกโยธินลง เพราะ เห็นว่าไม่ใช่หน้าที่ของกองทัพเรือ และ รัฐบาลจัดสรรงบประมาณมาให้กองทัพเรือไม่เพียงพอที่จะนำมาปรับปรุงกองทัพได้
คณะผู้ก่อการสำคัญ
ผู้ก่อการกบฏที่เป็นผู้นำสำคัญ คือ พลเรือตรี ทหาร ขำหิรัญ นายทหารนอกราชการ อดีตผู้บังคับการกรมนาวิกโยธิน นาวาเอก อานนท์ ปุณฑริกาภา ผู้บังคับการกองสำรองเรือรบ นาวาตรี มนัส จารุภา ผู้บังคับการเรือหลวงรัตนโกสินทร์ นาวาตรี ประกาย พุทธารี สังกัดกรมนาวิกโยธิน และนาวาตรี สุภัทร ตันตยาภรณ์ สังกัดกรมนาวิกโยธิน นอกนั้นเป็นทหารชั้นผู้น้อย ส่วนผู้นำฝ่ายอื่น ๆ นั้นก็ได้รับการชักชวนจากทหารเรือที่มียศระดับกลาง ๆ โดยไม่มีการให้คำมั่นเท่าที่ควร จึงเป็นสาเหตุหนึ่งที่ทำให้การกบฏประสบความล้มเหลว
............................
มาตรการหลังเหตุการณ์ยุติ
ภายหลังเหตุการณ์กบฏแมนฮัตตันยุติลง รัฐบาลได้ดำเนินการให้บ้านเมืองเข้าสู่สภาวะปรกติ ทั้งทางด้านความสงบเรียบร้อยของประชาชน การทหาร และ ตำรวจซึ่งได้รับความเสียหายจากการสู้รบครั้งนี้ รวมทั้งมีการปรับปรุงกองทัพเรือเสียใหม่ โดยแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงกองทัพเรือจำนวน 12 คน ที่สำคัญ คือ จอมพล ป. พิบูลสงคราม พลเอก ผิน ชุณหะวัณ พลอากาศเอก ฟื้น รณนภากาศ ฤทธาคนี พลโท สฤษดิ์ ธนะรัชต์ และ พลตำรวจโท เผ่า ศรียานนท์ ปรากฏว่าคณะกรรมการได้พิจารณา และ ลดกำลังกองทัพเรือในลักษณะลดทอนแสนยานุภาพ มากกว่าจะเป็นการปรับปรุงเพื่อให้กองทัพเรือมีสมรรถภาพดีขึ้น โดยมีมติดังนี้


ประการที่ 1 ให้ยุบกรมนาวิกโยธินที่กรุงเทพ ฯ และ สัตหีบทั้งหมด คงเหลือไว้เพียง 1 กองพัน และ ให้ปลดนายทหารที่เกินอัตราออกให้หมด และ ปลดนายทหารนาวิกโยธินออก เพื่อมิให้กองทัพเรือมีทหารนาวิกโยธินต่อไปอีก เนื่องจากเป็นกองกำลังที่เข้มแข็ง ไม่น่าไว้วางใจ
ประการที่ 2 ให้ย้ายกองบัญชาการกองทัพเรือ จากพระราชวังเดิมไปอยู่ป้อมพระจุลจอมเกล้า จังหวัดสมุทรปราการ เพื่อไม่ให้ทหารเรืออยู่ในเขตพระนครและธนบุรี เมื่อกองทัพเรือได้ย้ายออกไปแล้วได้ใช้เป็นสถานศึกษาหรือหน่วยงานฝ่าย พลเรือนต่อไป

ประการที่ 3 ให้ย้ายกองเรือรบ ตลอดจนเรือรบในสังกัดทุกลำไปอยู่สัตหีบ และให้เปลี่ยนชื่อกองเรือรบเป็น " กองเรือยุทธการ
"
ประการที่ 4 ให้กองสัญญาณทหารเรือย้ายออกจากศาลาแดงไปอยู่ที่อื่น

ประการที่ 5 ให้โอนกองบินทหารเรือที่จุดเสม็ด สัตหีบ ไปเป็นของกองทัพอากาศ เพราะเห็นว่ากองบินไม่จำเป็นสำหรับกิจการของทหารเรือ หากมีความจำเป็น กองทัพอากาศก็สามารถปฏิบัติการแทนได้ หรือใช้ร่วมกันได้

ประการที่ 6 ให้ยุบเลิกกองสารวัตรทหารเรือ กรุงเทพฯ

ประการที่ 7 ที่ทำการกองเรือรบเดิมที่ท่าราชวรดิฐ ไม่ให้ทหารเรือหรือทหารเหล่าอื่นเข้าอยู่ ประการต่อมา คือ โอนสถานที่ทำการหมวดเรือพระราชพิธีแจวบางส่วนให้ทหารบก ให้โอนเฉพาะพื้นที่ติดคลองสำหรับจอดเรือพระราชพิธีแจวพายเท่านั้น และประการสุดท้าย สถานที่ของกองพันนาวิกโยธิน 4-5 สวนอนันต์ ถนนอิสรภาพ ไม่ให้ทหารเรือเข้าอยู่ และโอนให้เป็นของทหารบก นอกจากนี้ ยังให้ยุบมณฑลทหารเรือที่ 1 ที่ครอบคลุมเขตจังหวัดสมุทรปราการ สมุทรสาคร และสมุทรสงคราม และมณฑลทหารเรือที่ 2 ครอบคลุมเขตจังหวัดจันทบุรี ชลบุรี ระยอง ตราด ซึ่งเป็นการย่อส่วน ของกองทัพเรือให้เล็กลงทั้งการปฏิบัติการ และ กำลังพล พร้อมกันนั้นได้ยึดอาวุธยุทธภัณฑ์ส่วนใหญ่ของทหารเรือไป

ยิ่งกว่านั้น ยังมีการเปลี่ยนแปลงตัวบุคคลที่มีอำนาจสั่งการ กล่าวคือ เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ.2494 คณะรัฐมนตรี และกระทรวงกลาโหมได้มีประกาศ และ คำสั่งให้นายทหารเรือผู้มีหน้าที่รับผิดชอบต่อการกบฏครั้งนี้พักราชการ และ ปลดออกจากราชการหลายคน เช่น พลเรือเอก สินธ์ กมลนาวิน ผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือโท หลวงเจริญราชนาวา (เจริญ ทุมมานนท์) รองผู้บัญชาการทหารเรือ พลเรือโท ผัน นาวาวิจิต ผู้บัญชาการกองเรือรบ พลเรือตรี ชลิต กุลกำม์ธร รองผู้บัญชาการกองเรือรบ พลเรือตรี กนก นพคุณ ผู้บังคับการมณฑลทหารเรือที่ 1 พลเรือตรี ประวิศ ศรีพิพัฒน์ เจ้ากรมยุทธศึกษาทหารเรือ พลเรือตรี ดัด บุนนาค เจ้ากรมสรรพาวุธทหารเรือ พลเรือตรี แชน ปัจจุสานนท์ รองเสนาธิการทหารเรือฝ่ายยุทธการ พลเรือตรี ชลี สินธุโสภณ ผู้บังคับการกองสัญญาณทหารเรือ และ พลเรือตรี สงวน รุจิราภา นายแพทย์ใหญ่ทหารเรือ และ มีผู้ถูกปลดออกจากราชการโดยไม่มีเบี้ยหวัดบำนาญที่สำคัญ เช่น นาวาเอก อานนท์ บุณฑริกาภา และ นาวาตรี มนัส จารุภา นอกจากนี้ ยังมีนายทหารเรืออีกประมาณ 70 นายถูกปลดออก การเปลี่ยนแปลงเช่นนี้ทำให้กองทัพเรือมีความเข้มแข็งอีกต่อไป และ ทหารเรือแทบจะไม่มีบทบาททางการเมืองอีกเลย


กบฏแมนฮัตตัน เป็นกบฏ ครั้งสำคัญในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ ซึ่งบางคนเรียกว่าเป็น " สงครามกลางเมือง " ที่คนในชาติเดียวกันต้องมารบราฆ่าฟันกันเองจากสถิติที่มีผู้บันทึกไว้ มีผู้บาดเจ็บและล้มตายเป็นจำนวนมาก ส่วนใหญ่เป็นประชาชนชาวบ้านที่ไม่มีส่วนเกี่ยวข้องกับความขัดแย้งของทั้ง 2 ฝ่าย โดยประชาชนเสียชีวิต 118 คน บาดเจ็บสาหัส และ ไม่สาหัส 191 คน พิการ 9 คน ทหารเรือเสียชีวิต 43 นาย บาดเจ็บ 87 นาย ทหารบกเสียชีวิต 43 นาย บาดเจ็บ 87 นาย ทหารบกเสียชีวิต 17 นาย บาดเจ็บ 115 นาย และ ตำรวจเสียชีวิต 9 นาย บาดเจ็บ 38 นาย


จากจำนวนผู้บาดเจ็บ และ เสียชีวิตทั้งทหาร และ พลเรือนดังกล่าวถือเป็นความเสียหายครั้งยิ่งใหญ่ ซึ่งยังไม่รวมความเสียหายที่เป็นสิ่งของ และ อาวุธยุทโธปกรณ์ในส่วนของประชาชน ทางราชการได้แถลงว่าทรัพย์สินของประชาชนที่เสียหายมี จำนวนถึง 670,000 บาท ไม่นับทรัพย์สินที่ถูกลักขโมยไปในช่วงที่เกิดความวุ่นวาย และ ค่าทำศพของราษฎรอีกเป็นจำนวนมาก โดย รัฐบาลจ่ายให้แก่ผู้เสียชีวิตคนละ 1,500 บาท ผู้ทุพพลภาพคนละ 1,200 บาท และ ผู้บาดเจ็บสาหัสคนละ 400 บาท ทางด้านความสูญเสีย และ ความเสียหาย กองทัพบกเสียหายประมาณ 6,000,000 บาท กองทัพเรือเสียหายมากที่สุด เป็นทรัพย์สินประมาณ 5,000,000 บาท ทั้งนี้ไม่นับรวมมูลค่าเสียหาย ของ เรือหลวงศรีอยุธยา และ เรือคำรณสินธ์ ที่อับปางลง เรือหลวงศรีอยุธยานั้นเป็นเรือรบที่เรียกว่าเรือปืนหนัก เป็นเรือที่สั่งต่อพิเศษ จาก ประเทศญี่ปุ่น เรือคำรณสินธ์เป็นเรือขนาดเล็ก นอกจากนี้ กรมอู่ทหารเรือยังถูกไฟไหม้วอด มีเชื้อเพลิง และ อาวุธยุทโธปกรณ์ที่สูญหายอีกจำนวนมาก เหล่าที่สูญเสียน้อยที่สุดคงเป็นกองทัพอากาศ ซึ่งรัฐบาลถือว่าเป็น " อัศวินขี่ม้าขาว " ที่ทำให้กบฏครั้งนี้จบลงเร็วขึ้น ส่วนกรมตำรวจเสียหายประมาณ 380,000 บาท งบประมาณที่ใช้ปราบกบฏมีมูลค่าเป็นเงินทั้งหมด 15 ล้านบาท

.................                                                                                     อ้างอิงhttp://th.wikipedia.org/wik
                                               
..................
วันนี้ เสธ เตรียมรถเสร็จสำหรับเดินทางเช้านี้ เพื่อไปงานแต่ง น้ำฝน ที่เชียงใหม่ โดย ไปกัน 3 คน คุณป้าพลอย ไปด้วยไม่ได้ เพราะ ติดลูกค้าต่างประเทศของบริษัท และ ท่าน ก็ไม่ค่อยคุ้น กับ ญาติ ของ ลุงทอง เท่าไร ด้วย แต่ก็ฝากความยินดี และ เงินขวัญถุงไปให้ก้อนโต..

..  
เสธ  " เอาเดินไว้ ๆ หน่อยซิ สาว ๆ ทำเป็นคนแก่เดินนวยนาดอยู่ได้ ฮ่าฮ่า ."..เขา พูดหยอกล้อสองสาว ที่กำลังยกสำภาระเดินกันมา และ เขา ก็เดิน เข้าไปช่วย..
.. น้ำค้าง " ก็ คุณพี่ไม่มาช่วยน้อง นะ หนักนะนี้ จริงไหม ชวนชม ."..เธอ แกล้งเหน็บแหนมกลับพร้อมยืนกระเป๋าส่งให้ เสธ ที่ยื่นมือมารับ..
.. ชวนชม " คุณนายมาคะ คุณเสธ ."..เธอ บอก เสธ เมื่อเห็น คุณป้าพลอย เดินมายังรถ พร้อม พี่สวย ที่จูง ลูกสาวเด็กน้อยวัย 4 ขวบเดินตามมาส่ง..
.. ป้าพลอย " ขับไปเรื่อย ๆ ช้า ๆ นะ ตาเสธ ไม่ต้องรีบ ช่วงนี้เห็นเขาว่าทางทำใหม่หลายช่วง เรา ไม่คุ้นทางจะอันตรายเอา ยายชวนชม ของหมดหรือยัง ไปกันกี่วันดูซิขนกระเป๋าใบใหญ่โตกันเชียว ."..เธอ พูดแบบห่วง ๆ และ หันไปคุยเล่นกับ ชวนชม..

..................เมื่อ พร้อมคณะเดินทางขึ้นเหนือก็เคลื่อนที่ เสธ และ สองสาว แปลกตากับท้องทุ่งที่ยาวสุดลูกหู ลูกตา แม้เห็นอยู่บ่อย ๆ แต่ หนทางที่ผ่านมีแต่ทองทุ่งผืนนาข้าวยาวต่อกันข้ามจังหวัด จากจังหวัดหนึ่ง ไปจังหวัดหนึ่ง รถมาจอดเมื่อถึง จังหวัดแพร่ เสธ ตั้งใจพักที่นี่คืนนี้ เช้า จะไปไหว้พระธาตุช่อแฮแล้วถึงจะเดินทางต่อ ทุกคนเข้าพัก โดย เสธ เช็คอินห้องพักสองห้อง เสธ ทานอาหารเย็นร่วมกับ 2 สาวเสร็จ ก็แยกตัวหมายพักผ่อน จวบจนเวลา 22 .00น. ก็มีเสียงเคาะประตู เสธ ลุกงัวเงียเดินไปเปิดประตูพอประตูอ้าออก ร่างสาวน้อยกลิ่นฟุ้งหอมทั้งกายสวมชุดนอนบางพลิ้วก็สวมกอด และ ก็ประกบปากชายหนุ่ม เสธ ดันประตูปิด ล๊อค และ ถกชุดนอนที่สวมใส่ออกทางศีรษะหญิงสาวร่างน้อยสง่างามได้รูปสัดส่วนโค้งเว้า ชวนพิศ มือ เสธ ตะปบนาบบีบที่แก้มก้นเด้งงอนงามมือลูบขยำฟอนเฟ้นเนื้อเนียนแน่ของหนันเนื้อ แก้มก้น ปากแลกลิ้นพันกัน นัวเนีย และ รัดกอดหมุนพาร่างงามไปยังเตียงนอน อาภรณ์ของ เขา ถูกหญิงสาวปลดเปลื้องไปพร้อม เสียงหอบกระสัน ปากทีประกบแลกน้ำลายกันพัลวัน ร่างทั้งคู่ล้มลงบนเตียงเมื่อไร้เสื้อผ้าอาภรณ์พรรณห่อหุ้ม ชั้นในชิ้นสุด ท้าย ของ น้ำค้าง ถูก ถก ถอดออกอย่างประณีตบรรจง มือ เสธ เมื่อปลดปราการด้านสุดท้ายแล้วก็เลื่อนขึ้นมาปาดลูบคลึงที่หม้อโคกอูมเหนือ ดงขนหนาดกดำที่ตัดกับผิวพรรณขาวสะพรั่งดั่งไข่ปอก นิ้วกลาง และ นิ้วชี้ หนีบบี้ขยี้เม็ดแตดที่เปล่งยื่นมาเล็กน้อย นิ้วโป้งมือ กดหัวเหน่ารูดลูบขยี้ นิ้วนาง ยื่นไปถูไล้ที่ขอบจีบรูรวงที่เยิ้มปิ่มน้ำเสียวล่อลื่น ขอบรูขมิบหลุบผลุบเข้า-ออก นิ้วนาง ถูกยัดแทรกเข้าไปในรูเนื้ออ่อน ที่ยังมีสีขาวอมชมพูสดแดง เมื่อ เมือกน้ำล่อลื่นฉาบฉาน เสียงครางในลำคอ น้ำค้าง ดังขึ้นอย่างพึงพอใจ มือเรียวเล็ก ของ เธอ ไม่ยอมปล่อยคู่สวาทบุกล้ำอยู่ฝ่ายเดียว น้ำค้าง เอื้อมมือกุมกำท่อนลำโด ที่เหยียดขยายพองตัวจนสุดตัว เส้นเลือดโปนปูด ถูก น้ำค้าง ลูบกำหลวม ๆ ขยำเบา ๆ พร้อมรูดถอกมือ จากปลายหัวบานที่ดำจนเขียว เงี่ยงกางก๋าเหมือนกิ่งกางพองแผลงคอ หนังดุ้นเอนถูกถอกถองรูด รูด รูด อีกมือนิ้วเรียวงามกำ กก โคนคลึงเคล้าพวงกระโปกใหญ่ที่ดกดำพะรุงพะรังด้วยขนหยาบหยิก ปลายนิ้มมือ น้ำค้าง บดคลึงลูกกระโปกคู่ถูวนไป-มา และ ส่งเสียง อื่อ อ้า เมื่อโดน อีกมือ ของ เสธ โต้ตอบ เขา กำโกยพวงเต้าอวบอิ่มได้รูป ของ น้ำค้าง เสธ กอบยกฐานเต้านมขึ้นวนคลึงบดนาบฝ่ามือ และ โกยสลับไป-มาทั้งสองเต้าตูม นิ้วเขี่ยปาดเฉียดปลายหัวนม บางครั้งก็หนีบดึงเย่อไป-มาจน น้ำค้าง ถึงกับแอ่นอกสู้มือที่ลวนลามรุกหนัก หญิงสาวทั้งรักใคร่ และ หลงใหลชายหนุ่ม แม้ เสธ ไม่เคยแสดงออก น้ำค้าง ก็ไม่ใส่ใจ เพราะ เพียงเธอ รักเขา และ ขอปนเปรอรสสวาท และ ความสุขแก่กันตลอดไปเมื่อยังไม่แยกห่างจากกัน เท่านั้นก็เพียงพอ ร่างทั้งสองหมุนเปลี่ยนพลิกขึ้น-ลงสลับกันไป-มา จน เครื่องร้อนด้วยกันทั้งคู่ น้ำค้าง เสร็จเพราะนิ้วยาวหยาบ ของ เสธ ที่ควนควักทะล

kaithai